สงครามในพม่า FOR DUMMIES

สงครามในพม่า for Dummies

สงครามในพม่า for Dummies

Blog Article

นี่เป็นอีกหนึ่งความพ่ายแพ้อย่างร้ายแรงสำหรับรัฐบาลทหาร หลังจากในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ทางกองทัพเพิ่งเสียพื้นที่ควบคุมขนาดใหญ่ในรัฐฉานซึ่งอยู่ติดกับชายแดนประเทศจีน เช่นเดียวกับพื้นที่ชายแดนติดประเทศบังกลาเทศซึ่งอยู่ในรัฐยะไข่

ในทุกๆ สัปดาห์ แหล่งข่าวต่างๆ มักรายงานว่ากองทัพพม่าได้รับความเสียหายอย่างมากระหว่างที่สู้รบกับกองกำลังชาติพันธุ์ และกองกำลังปกป้องประชาชน ความเสียหายที่ว่านี้บ่อยครั้งเกิดขึ้นกับเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส โดยเป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นรัฐฉิ่น แคว้นมะเกว แคว้นสะกาย และรัฐกะเรน (หรือรัฐกะยิน) และรัฐกะเรนนี (หรือรัฐกะยาห์) และส่งผลกระทบต่อแสนยานุภาพและขวัญกำลังใจของกองทัพ ในรัฐกะฉิ่น มีรายงานว่าทหารของกองทัพไม่กล้าเสี่ยงออกไปนอกฐานทัพของตัวเอง เพราะกลัวว่าจะถูกฆ่าโดยกองกำลังชาติพันธุ์หรือกองกำลังปกป้องประชาชนด้วย

“ศึกรัฐฉาน” ล้างจีนเทา พม่าเสี่ยงแตก จับตาสหรัฐฯ เข้าแทรก ปั่นสงคราม

โดยเฉพาะอย่างยิ่งกองทัพโกก้างซึ่งก็คือชาวจีนฮั่นที่อพยพมาตั้งรกรากอยู่บริเวณนี้ตั้งแต่เมื่อหลายร้อยปีก่อน แต่หลังจากอังกฤษ และจีนตกลงปักปันเขตแดนกันแล้ว เมืองเล่าก์ก่ายซึ่งเป็นถิ่นฐานหลักของชาวโกก้าง ถูกขีดเส้นกำหนดให้อยู่ฝั่งรัฐฉาน ทุกวันนี้ ชาวโกก้างยังสื่อสารกันด้วยภาษาจีน ทั้งการพูดและเขียนขณะที่ ดินแดนจีนที่อยู่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองเล่าก์ก่าย คือเขตปกครองตนเองชนชาติไตและว้า จังหวัดหลินชาง มณฑลยูนนาน<

บทความวิกิพีเดียที่ต้องการเขียนใหม่

ข้ามไปเนื้อหา เมนูหลัก เมนูหลัก

คำบรรยายภาพ, จาก อ.แม่สอด จ.ตาก มองเห็นเปลวเพลิงและควันพวยพุ่งขึ้นมาจากฝั่งเมียวดี หลังกองทัพเมียนมาโจมตีทางอากาศในพื้นที่ของเคเอ็นยู

ภาพจิตรกรรมพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอน ยุทธหัตถี วัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ : การเรียกดูเว็บไซต์ต่อไปแสดงว่าคุณยอมรับการใช้คุกกี้ของเรา I agree

แก้รัฐธรรมนูญ การเมือง เศรษฐกิจ สิทธิมนุษยชน ศิลปวัฒนธรรม ต่างประเทศ คุณภาพชีวิต ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม ไอซีที อินโฟกราฟิก แรงงาน วารสาร คนทำงาน กวีประชาไท สัมภาษณ์ ประชาชนในพม่า กีฬา

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนร่วม

ผู้ประท้วงหญิงเผย ถูกทหารเมียนมาประทุษร้ายทางเพศ - ซ้อมทรมานในที่คุมขัง

ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึง ปีพุทธศักราช

ประชาชนได้ส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจอย่างไรภายใต้ความขัดแย้งในปัจจุบัน

Report this page